ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

ตึกเวิลด์ เทรด เซ็นเตอร์

เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (อังกฤษ: World Trade Center) สูง 530 เมตรกับ 431เมตรเป็นกลุ่มอาคารจำนวน 7 อาคารในนครนิวยอร์ก ก่อสร้างระหว่าง พ.ศ. 2509-2520 (เวลารวมในการก่อสร้างครบ 7 อาคาร) ออกแบบโดยสถาปนิกลูกครึ่งอเมริกัน-ญี่ปุ่น มิโนรุ ยามาซากิ ร่วมด้วยบริษัท เอเมอร์รี่ รอท แอนด์ซันส์ โดยอาคารแฝดถูกทำลายในเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 และอาคารอื่น ๆ เสียหายจนไม่สามารถใช้งานได้ สาเหตุมาจากอาคารเวิลด์เทรดเว็นเตอร์ 1 และ 2 ถูกเครื่องบินพุ่งชนทั้ง 2 อาคาร เป็นเวลานานทำให้อาคาร 2 ถล่มทั้งอาคาร และอาคาร 1 ถล่มในเวลาต่อมา ส่งผลให้อาคารรอบข้างถูกซากตัวอาคารถล่มทับจนเสียหาย ไปพร้อมๆ กัน

เริ่มก่อสร้าง ค.ศ. 1966 (อาคาร 1 สร้างเสร็จเมื่อ ค.ศ. 1970 และอาคาร 2 เมื่อ ค.ศ. 1972 เริ่มทำพิธีเปิดอาคารวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1973 แต่ละวันจะมีพนักงานทำงานในอาคารนี้มากกว่า 50,000 คน และนักท่องเที่ยวมากกว่า 200,000 คน เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์มีรหัสไปรษณีย์ของตัวเอง คือ 10048

เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์เป็นสัญลักษณ์ของนครนิวยอร์ก และปรากฏตัวในภาพยนตร์จำนวนมาก เช่น เรื่อง The Godfather III, World Trade Center, MIB, United 93, Oliver and Company , The Walk (ไต่ขอบฟ้าท้านรก)

อาคารแฝดหมายเลข 1-2 เป็นอาคารที่สูงที่สุด มี 110 ชั้น โดยอาคารเหนือ มีความสูง 1,716 ฟุต (530 เมตร) และอาคารใต้ มีความสูง 1, ฟุต (415 เมตร) สร้างเสร็จเมื่อ ค.ศ. 1972 และ ค.ศ. 1973 ตามลำดับ ซึ่งเป็นอาคารที่สูงที่สุดในโลกเมื่อสร้างเสร็จ ก่อนจะถูกทำลายสถิติโดยอาคารเซียร์ทาวเวอร์ในชิคาโกและสูงที่สุดบนเกาะแมนฮัตตั้น นิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา

แต่ละอาคารมีพื้นที่ใช้สอย 3.8 ล้านตารางฟุต (350,000 ตร.ม.) ถ้านับรวมอาคารทั้งหมดจะมีพื้นที่ใช้สอยรวม 11.2 ล้านตารางฟุต (1.04 ล้าน ตร.ม.) โครงสร้างอาคารทั้งคู่เป็นแบบโครงเหล็กกล้า ผนังกระจกคล้ายกำแพงม่านแก้ว บางส่วนของสำนักงานเป็นกำแพงปูนปาสเตอร์ เพื่อประหยัดน้ำหนักของแต่ละชั้น

คนทั่วไปสามารเข้าชมทัศนียภาพจากอาคารได้ภัตตาคารบนยอดอาคาร (ชั้น 107) ของอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ 1 ชื่อ "Windows on the World" และจากอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ 2 ชื่อ "Top of the World

เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993 รถบรรทุกที่มีระเบิดน้ำหนัก 1,500 ปอนด์ ได้ระเบิดบริเวณที่จอดรถใต้ดินของอาคาร 1 ทำให้เกิดหลุมกว้างประมาณ 100 เมตร มีผู้เสียชีวิต 6 คนและผู้บาดเจ็บจำนวนมาก ผู้ก่อการร้าย 6 คนถูกจับใน ค.ศ. 1997 และ ค.ศ. 1998

เมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ได้มีการปล้นเครื่องบินพาณิชย์และพุ่งเข้าชนอาคารแฝดซึ่งได้แก่ อเมริกัน แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 11 ชนอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ 1 บริเวณชั้นที่ 90-95 และ ยูไนเต็ด แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 175 ชนอาคารเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ 2 บริเวณชั้นที่ 75-90 ส่งผลให้ทั้งสองอาคารถล่มในเวลาต่อมา โดยอาคารแรกที่ถล่ม คือ อาคารสอง ถล่มหลังจากถูกชน 1 ชั่วโมงเศษ และอาคารหนึ่งได้ถล่มหลังอาคารสอง 45 นาที (หรือหลังจากถูกชน 1 ชั่วโมง 45 นาที) หลังจากนั้น อาคาร 7 ได้ถล่มในวันถัดมา เนื่องจากการถล่มของอาคารทั้งคู่ทำให้รากฐานของอาคาร 7 ไม่มั่นคง ประกอบกับตัวอาคารเกิดไฟไหม้ ทำให้โครงเหล็กค้ำยันของอาคาร 7 ถล่มลง แต่โชคดีที่มีการอพยพคนออกจากอาคารนี้ก่อนที่จะถล่ม ส่วนอาคารที่เหลืออีก 4 อาคาร ได้รับความเสียหายอย่างหนักเนื่องจากถูกอาคาร 1 และอาคาร 2 ถล่มทับ มีผู้เสียชีวิตอย่างเป็นทางการรวม 2,749 คน

สาเหตุที่อาคารถล่ม เกิดจากแรงปะทะของเครื่องบินโบอิง 767 ซึ่งมีน้ำหนักประมาณ 170 ตัน พุ่งเข้าชนตัวอาคารแบบเฉือนจุดกึ่งกลางภายในอาคารด้วยความเร็ว 570 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นแรงกระทำต่ออาคารสูงขณะอยู่กับที่ (Dynamic Lode) ชิ้นส่วนบางส่วนของเครื่องบินเช่น เครื่องยนต์โบอิง 767 ได้หลุดออกจากตัวอาคาร แต่ส่วนใหญ่ชิ้นส่วนของเครื่องบินกระจายฝังอยู่ในตัวอาคาร ประกอบกับแรงระเบิดมหาศาลจากการลุกไหม้ของน้ำมันเครื่องบินที่บรรจุมาเต็มถังน้ำมัน ส่งผลให้เสาหลักและช่องลิฟท์ของอาคารเสียหาย ทำให้การกระจายน้ำหนักของอาคารต้องกระจายอ้อมส่วนที่เสียหาย แต่การชนนี้ยังไม่ทำให้ตัวอาคารถล่มลงทันที เนื่องจากอาคารถูกออกแบบให้ทนชนของเครื่องบินขนาด โบอิง 707 โครงสร้างหลักของอาคารเป็นแกนเหล็กตรงกลางอาคาร (Steel Framed Tuble) และมีโครงเหล็กถัก (Truss) จากแกนหลักไปยังผนังอาคาร เพลิงที่ไหม้ในอาคารมีอุณหภูมิสูงถึง 800 องศาเซลเซียส ส่งผลให้โครงเหล็กถักสูญเสียความแข็งแรง เกิดการงอตัวจากน้ำหนักอาคารและหลุดออกจากจุดยึด ทำให้อาคารแต่ละชั้นถล่มลงด้วยน้ำหนักของแต่ละชั้นเอง (Self Weight) หลังจากการชน 1 ชั่วโมง


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187